บทความพิเศษ สารเพอร์ฟลูออโรอัลคิลและโพลีฟลูออโรอัลคิล กับการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย Perfluoroalkyl and Polyfluoroalkyl Substances and their Contamination in the Environment of Thailand จิรา คงปราณ สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี ส�ำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Jira Kongpran Department of Environmental Health and Technology, School of Public Health, Walailak University บทคัดย่อ สารเคมีสงั เคราะห์กลุม่ เพอร์ฟลูออโรอัลคิลและโพลีฟลูออโรอัลคิล (PFASs) ถูกผลิตและน�ำไป ใช้ในอุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ อย่างแพร่หลายมามากกว่าครึง่ ศตวรรษ สาร PFASs จัดเป็น สารมลพิษชนิดใหม่ที่ปนเปื้อนและตกค้างยาวนานในสิ่งแวดล้อมหลายพื้นที่ทั่วโลก รวมทั้งสะสมใน เนือ้ เยือ่ สิง่ มีชวี ติ และเป็นพิษต่อสุขภาพ ยืนยันด้วยผลการทดลองในสัตว์และผลการศึกษาทางระบาด วิทยาในมนุษย์ของสาร PFASs บางชนิด เช่น ผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ การเกิด ภูมแิ พ้ การท�ำงานของไต โรคหัวใจและหลอดเลือด การเพิม่ ขึน้ ของระดับไทรอยด์ฮอร์โมนและระดับ คอเลสเตอรอล และมีโอกาสก่อมะเร็งในมนุษย์ เป็นต้น ความตระหนักด้านผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และสุขภาพเริม่ ต้นอย่างจริงจังตัง้ แต่ปี 2000 น�ำมาซึง่ การศึกษาวิจยั ในหลายประเทศ ส่งผลให้มกี าร ก�ำหนดมาตรการควบคุมการผลิตและใช้งานสาร PFASs เพือ่ ป้องกันผลกระทบต่อประชาชนในประเทศ เหล่านัน้ แต่ในประเทศไทยทีผ่ า่ นมามีเพียงการตรวจสอบสาร PFASs ในตัวอย่างสิง่ แวดล้อม ซึง่ ผล การศึกษายืนยันการปนเปื้อนในตัวอย่างน�้ำ ฝุ่นพื้นผิว และอากาศ คนไทยจึงมีโอกาสรับสัมผัสสาร กลุม่ นีเ้ ข้าสูร่ า่ งกาย ดังนัน้ การศึกษาแหล่งก�ำเนิด เส้นทางการปนเปือ้ น ปริมาณการรับสัมผัสในมนุษย์ และความเสี่ยงต่อสุขภาพที่เกิดจากสาร PFASs จะเป็นฐานข้อมูลต่อยอดที่ส�ำคัญในการวิเคราะห์ สถานการณ์ในประเทศ เพือ่ ควบคุมผลกระทบจากสารมลพิษกลุม่ นี้ ค�ำส�ำคัญ : สารเพอร์ฟลูออโรอัลคิล, สารโพลีฟลูออโรอัลคิล, การปนเปือ้ นในสิง่ แวดล้อม, ความเสีย่ ง ต่อสุขภาพ  152 The Public Health Journal of Burapha University : Vol.13 No.2 July - December 2018 Abstract Per- and polyfluoroalkyl substances (PFASs) are man-made chemicals which have been produced and used in several industrial and consumer products for more than half a century. PFASs are classified as emerging contaminants due to their ubiquitous contamination in global environment. They are persistent, bioaccumulative and toxic. Animal experiments and epidemiology studies have shown potential effects of some PFASs to health such as birth outcomes, allergic disease, kidney function, cardiovascular disease, increase of thyroid hormone and cholesterol, and possibly carcinogenic to human etc. Environmental and health concerns have arisen since 2000 results in several researches on PFASs. The production and use of PFASs have been regulated in many countries in order to protect their people. In Thailand, few studies have been conducted only for detection of PFASs in environmental samples including water, house dust and air sample. The results confirm their contamination in the environment which possibly linked to exposure to PFASs in Thai population. Therefore, the study on sources and contamination pathways of PFASs, exposure level in human and related health risk are needed to conduct. Based on these results, the adverse effects of PFASs in Thailand can be regulated. Keywords : Perfluoroalkyl substances, Polyfluoroalkyl substances, Environmental contamination, Health risk บทน�ำ ปัจจุบนั หลาย ๆ ประเทศต้องเผชิญกับปัญหา สารมลพิษชนิดใหม่ (Emerging Contaminants) ที่ปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อม สารเหล่านี้ถูกคิดค้น และน� ำ มาใช้ ใ นอุ ต สาหกรรม เพื่ อ ช่ ว ยให้ ผู ้ ค นมี คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่ขาดการ ศึ ก ษาผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพก่อน น� ำ ไปใช้ ความตระหนั ก ต่ อ สารมลพิ ษ เหล่ า นั้ น มักเกิดขึ้นหลังจากการผลิตและใช้งานมาสักระยะ ซึ่งนานพอที่สารมลพิษแพร่กระจายและปนเปื้อน อยู่ในสิ่งแวดล้อม จนอาจน�ำไปสู่ความเสี่ยงหรือ แม้ ก ระทั่ ง เกิ ด ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพของมนุ ษ ย์ สารเคมีกลุม่ Per และ Polyfluoroalkyl substances โดยรวมใช้ชื่อย่อว่า PFASs ถูกผลิตและน�ำมาใช้ ในอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลายตั้งแต่ช่วงคริสต์ ทศวรรษที่ 1950 1 แต่ ค วามตระหนั ก ทางด้ า น ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๑ สิ่งแวดล้อมที่ท�ำให้มีการศึกษาอย่างจริงจังเริ่มขึ้น 50 ปีหลังจากนัน้ การวิจยั การปนเปือ้ นสาร PFASs ในสิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงต่อสุขภาพถูกด�ำเนิน การโดยประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจาก สารเหล่ า นี้ มี ก ารปนเปื ้ อ นในระดั บ ความเข้ ม ข้ น ต�่ำ ๆ (Micropollutants) จึงต้องอาศัยเทคนิค การวิเคราะห์ที่มีประสิทธิภาพสูง ผลการวิจัยท�ำให้ ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว มี ก ารควบคุ ม การผลิ ต และ การใช้สาร PFASs ฐานการผลิตจึงถูกเคลื่อนย้าย ไปยั ง ประเทศก� ำ ลั ง พั ฒ นา แต่ ก ารศึ ก ษาการปน เปื้อนในสิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงต่อสุขภาพที่เกิด จากสาร PFASs ในประเทศก�ำลังพัฒนากลับมีอยู่ จ�ำกัด บทความวิชาการฉบับนีม้ ี 2 วัตถุประสงค์หลัก อย่างแรกเพื่อทบทวนผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับ สาร PFASs ได้แก่ คุณสมบัติ การน�ำไปใช้ประโยชน์ แหล่งก�ำเนิดและเส้นทางการปนเปือ้ นในสิง่ แวดล้อม การรับสัมผัสในมนุษย์ ผลกระทบต่อสุขภาพ และ การด�ำเนินการควบคุม และส่วนที่สองเพื่อทบทวน สถานการณ์การปนเปือ้ นสาร PFASs ในสิง่ แวดล้อม ในประเทศไทย เพื่อให้ข้อเสนอแนะต่อประเด็น การศึกษาวิจัยที่ควรด�ำเนินการต่อไป ความส�ำคัญของสาร PFASs 1. คุณสมบัตทิ างกายภาพและเคมี PFASs เป็นสารเคมีสังเคราะห์ที่มีหมู่ perfluoroalkyl (-CnF2n+1) อย่างน้อยหนึ่งหมู่ เมื่ อ ก่ อ นสารกลุ ่ ม นี้ ถู ก อ้ า งถึ ง ในชื่ อ ของ PFCs (per- and polyfluorinated compounds) แต่ ค�ำว่า PFCs อาจหมายถึงสารกลุ่ม Perfluorocarbons ซึ่งเป็นสารที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน และฟลูออรีนเท่านั้น และมีคุณสมบัติแตกต่างไป วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา :  153 จากสาร PFASs2 ดังนั้น เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน จึ ง มี ก ารใช้ ชื่ อ PFASs ที่ มี ค วามเฉพาะเจาะจง มากกว่ารวมถึงในบทความฉบับนีด้ ว้ ย สาร PFASs มีหลายกลุ่มและปัจจุบันถูกน�ำมาใช้หลายร้อยชนิด3 แต่ มี ส องกลุ ่ ม ที่ ไ ด้ รั บ ความสนใจเป็ น อย่ า งมาก เนื่ อ งจากความคงตั ว ในสิ่ ง แวดล้ อ ม การสะสม ในเนื้ อ เยื่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต และความเป็ น พิ ษ นั่ น คื อ กลุ ่ ม Perfluoroalkyl sulfonic acid (PFSAs) และกลุ่ม Perfluoroalkyl carboxylic acid (PFCAs) โดยชนิดของสารที่ส�ำคัญในกลุ่ม คือ Perfluorooctane sulfonic acid (PFOS) และ Perfluorooctanoic acid (PFOA) ตาม ล�ำดับ โดยโมเลกุลของสาร PFASs แต่ละชนิด ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ สายฟลูออโรคาร์บอน และหมู่ฟังก์ชัน ตัวอย่างเช่น PFOS และ PFOA มีหมู่ซัลโฟนิก (-SO3H) และหมู่คาร์บอกซิลิค (-COOH) เป็ น หมู ่ ฟ ั ง ก์ ชั น ตามล� ำ ดั บ โดย Perfluoroalkyl substances เป็นสารที่อะตอม ไฮโดรเจนที่สร้างพันธะกับคาร์บอนทุกอะตอมถูก แทนที่ด้วยฟลูออรีน ยกเว้นอะตอมคาร์บอนที่เป็น หมูฟ่ งั ก์ชนั ในขณะที่ Polyfluoroalkyl substances อย่างน้อยมีคาร์บอน 1 อะตอม (แต่ไม่ทั้งหมด) ที่ ไฮโดรเจนที่สร้างพันธะอยู่ทุกอะตอมถูกแทนที่ด้วย ฟลูออรีน4 ด้วยความแข็งแรงของพันธะคาร์บอน และฟลู อ อรี น ท� ำ ให้ PFASs มี ค วามเสถี ย รและ ทนทานต่อความร้อนและสารเคมี จึงถูกน�ำไปใช้เป็น ส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความหลากหลาย ทางคุณสมบัติทั้งความแข็งแรง ยืดหยุ่น และมีอายุ การใช้งานที่ยาวนาน และด้วยลักษณะเฉพาะตัวของ PFASs2, 4 ทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ งั้ มีขวั้ (หมูฟ่ งั ก์ชนั ) และ ไม่มขี วั้ (สายฟลูออโรคาร์บอน) ในโมเลกุล ส่งผลให้  154 The Public Health Journal of Burapha University : สาร PFASs มีคุณสมบัติช่วยลดแรงตึงผิว สามารถ ขับไล่ทงั้ น�ำ้ และไขมันไม่ให้ยดึ เกาะ จึงถูกน�ำมาใช้เป็น วัตถุดิบ ส่วนผสม หรือสารตัวกลางในการผลิตสาร เคลือบผิว และใช้เคลือบผิวผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และสิ น ค้ า อุ ป โภคในครั ว เรื อ นหลายชนิ ด เพื่ อ กั น น�้ำ ไขมัน และคราบสกปรกต่าง ๆ พันธะที่แข็งแรง ระหว่างคาร์บอนและฟลูออรีน ท�ำให้สาร PFOS PFOA รวมถึงสารชนิดอื่นในกลุ่ม PFSAs และ PFCAs เป็นสารเคมีที่เสถียร (persistent) ย่อย สลายได้ยากต้องใช้รังสีพลังงานสูงหรืออุณหภูมิสูง ในห้องปฏิบัติการ แต่ไม่สามารถย่อยสลายได้ทาง ชีวภาพจึงตกค้างในสิ่งแวดล้อมได้ยาวนาน ในขณะ ที่สารกลุ่ม Polyfluoroalkyl substances เช่น Fluorotelomer alcohols (FTOHs: CF3(CF2)n CH2CH2OH) สามารถถูกย่อยสลายอย่างช้า ๆ ในสิ่ ง แวดล้ อ มทั่ ว ไปและเปลี่ ย นเป็ น สารชนิ ด ที่ มี ความเสถียรได้ โดยสาร FTOHs จัดเป็นสารตั้งต้น (Precursor) ชนิ ด หนึ่ ง ของสารกลุ ่ ม PFCAs คุณสมบัตทิ างเคมีฟสิ กิ ส์ของสาร PFASs แต่ละกลุม่ แตกต่างกันไปโดยสารกลุ่ม PFSAs และ PFCAs สามารถละลายน�ำ้ ได้ โดยความสามารถในการละลาย น�้ำลดลงเมื่ อ ความยาวของสายฟลู อ อโรคาร์ บ อน เพิ่มขึ้น และไม่ระเหยเมื่ออยู่ในรูปของสารละลาย ในขณะที่สารกลุ่ม FTOHs มีความสามารถในการ ละลายน�้ำต�่ำแต่มีค่าความดันไอสูงซึ่งสามารถระเหย ได้ 5 จึ ง ท� ำ ให้ เส้นทางการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม ของสารแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน โดยกลุ่ม PFSAs และ PFCAs มีเส้นทางหลักของการปนเปื้อนในสิ่ง แวดล้อมน�้ำ ในขณะที่กลุ่ม FTOHs ซึ่งระเหยได้ มีเส้นทางการปนเปื้อนหลักในอากาศ สาร PFASs สามารถจ�ำแนกเป็น 2 ประเภท คือ PFASs สายยาว (long-chain PFASs) และ PFASs สายสั้ น Vol.13 No.2 July - December 2018 (short-chain PFASs) ตามจ�ำนวนคาร์บอนใน สายฟลูออโรคาร์บอน โดย PFASs สายยาว ได้แก่ สารในกลุ่ม PFSAs ที่มีจ�ำนวนคาร์บอนมากกว่า หรือเท่ากับ 6 อะตอม (ตัวอย่างเช่น PFOS หรือ C8 PFSA) และสารในกลุ่ม PFCAs ที่มีจ�ำนวน คาร์บอนมากกว่าหรือเท่ากับ 7 อะตอม (ตัวอย่างเช่น PFOA หรือ C8 PFCA) และรวมถึงสารตั้งต้นของ PFSAs และ PFCAs ชนิดสายยาว แต่เนือ่ งจากสาร PFASs สายยาว มีความสามารถสะสมในเนื้อเยื่อ สิ่ ง มี ชี วิ ต (bioaccumulation) มากกว่ า สาร PFASs สายสั้น4 จึงมีการน�ำสาร PFASs สายสั้น ที่ให้คุณสมบัติทางการผลิตในลักษณะเดียวกับสาร PFASs สายยาวมาใช้ทดแทน 2. การใช้ประโยชน์ จากคุณสมบัติที่เหมาะส�ำหรับการใช้งาน ในการผลิตทางอุตสาหกรรมข้างต้น สาร PFASs ถูกน�ำไปใช้ประโยชน์หลากหลายโดยมี 16 สาขา อุตสาหกรรมหลัก2 ดังแสดงในตารางที่ 1 โดยสาร PFASs สามารถปนเปื้อนออกสู่สิ่งแวดล้อมได้ทั้ง จากกระบวนการผลิต การใช้งาน และการก�ำจัดทิ้ง ในระหว่างกระบวนการผลิต สาร PFASs อาจถูกปลด ปล่อยออกมาในรูปของวัตถุดิบที่ไม่ได้ท�ำปฏิกิริยา (residues) หรือผลพลอยได้จากกระบวนการผลิต (impurities) ซึง่ รวมไปกับของเสียทัง้ ในรูปก๊าซเสีย น�้ำเสีย กากตะกอน และมูลฝอยจากโรงงานผลิต หรือถูกปลดปล่อยออกมาระหว่างการน�ำสาร PFASs ไปใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ รวม ถึงการใช้งานผลิตภัณฑ์เหล่านั้นของผู้บริโภค และ การน�ำของเสียทีม่ สี าร PFASs เป็นส่วนผสมไปก�ำจัด ทิง้ ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ เช่น การใช้กากตะกอนท�ำปุย๋ หมัก การบ�ำบัดน�้ำเสีย การบ�ำบัดก๊าซเสียและน�้ำชะขยะ จากหลุมฝังกลบ เป็นต้น ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๑ วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา :  155 ตารางที่ 1 สาขาอุตสาหกรรมที่มีการน�ำสาร PFASs ไปใช้ประโยชน์2 สาขาอุตสาหกรรม ลักษณะการน�ำไปใช้ประโยชน์ 1. อุตสาหกรรมการบินและ การป้องกันอากาศยาน ใช้เป็นส่วนประกอบของอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ท่อเคเบิล และ เป็นส่วนผสมในสารไฮดรอลิคเพื่อป้องกันการระเหย การติดไฟและ การกัดกร่อน 2. อุตสาหกรรมยานยนต์ ใช้ปรับปรุงระบบขนส่งน�้ำมันรถยนต์เพื่อป้องกันการระเหยของสาร ไฮโดรคาร์บอนในท่อขนส่งและป้องกันความร้อน รวมทั้งเป็นส่วน ผสมในน�้ำมันหล่อลื่น 3. อุตสาหกรรมผลิตยาปราบ ใช้เป็นส่วนผสมเพื่อควบคุมการเจริญเติบโตและ ศัตรูพืช ก�ำจัดวัชพืชและแมลง 4. อุตสาหกรรมผลิตสายเคเบิล ใช้ในการผลิตสายเคเบิลและสายไฟที่ใช้ในระบบสื่อสารคมนาคม และสายไฟ ระบบคอมพิวเตอร์ รถยนต์ และอากาศยาน เป็นต้น 5. อุตสาหกรรมผลิตวัสดุ ก่อสร้าง ใช้เคลือบผิววัสดุ เช่น กระเบื้อง คอนกรีต เหล็ก เพื่อกันไฟและ ให้ทนทานต่อสภาพอากาศ รวมทั้งเป็นส่วนผสมในสีทาบ้าน 6. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ใช้เคลือบป้องกันแผงวงจร 7. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน ใช้เคลือบป้องกันตัวรับแสงอาทิตย์ และสารอิเล็กโทรไลต์ ในแบตเตอรี่ 8. อุตสาหกรรมป้องกันเพลิง เป็นส่วนผสมในโฟมดับเพลิง และเคลือบอุปกรณ์ที่ใช้ในการดับเพลิง และระงับอัคคีภัย 9. อุตสาหกรรมผลิตสินค้า อุปโภคในครัวเรือน ใช้เป็นส่วนผสมน�้ำยาเคลือบเงาพื้น น�้ำยาท�ำความสะอาด รวมทั้ง ใช้เคลือบผิวเครื่องหนัง พรม และเครื่องครัว เช่น เคลือบกระทะ เพื่อป้องกันอาหารติดกระทะ 10. อุตสาหกรรมชุบโลหะ ใช้เป็นสารเคลือบผิวเพื่อให้ผิวโลหะมีความแข็งและให้ชั้นผิว เกิดความสวยงาม 11. อุตสาหกรรมการผลิตน�้ำมัน ใช้เป็นสารเคลือบผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานของของเหลว และสกัดแร่ ที่ใช้สกัดน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติด้วยการช่วยยับยั้งการระเหยของ แก๊สโซลีน รวมทั้งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสกัดแร่ทองแดงและทอง 12. อุตสาหกรรมทางการแพทย์ ใช้เป็นส่วนผสมท�ำวัสดุเทียมต่าง ๆ ที่ฝังในร่างกาย เคลือบฟิล์ม X-rays เสื้อคลุมและผ้าคลุมส�ำหรับการผ่าตัด 13. อุตสาหกรรมผลิตสาร ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอุปกรณ์เพื่อใส่ของเหลวหรือแก๊สที่มีฤทธิ์ กึ่งตัวน�ำ กัดกร่อนได้  156 The Public Health Journal of Burapha University : Vol.13 No.2 July - December 2018 ตารางที่ 1 สาขาอุตสาหกรรมที่มีการน�ำสาร PFASs ไปใช้ประโยชน์2 (ต่อ) สาขาอุตสาหกรรม ลักษณะการน�ำไปใช้ประโยชน์ 14. อุตสาหกรรมการผลิต กระดาษและบรรจุภัณฑ์ ใช้เคลือบผิวกระดาษและบรรจุภัณฑ์ที่เป็นกระดาษที่ใช้ห่อหุ้ม อาหารเพือ่ เพิม่ คุณสมบัตกิ ารกันน�ำ้ มันและน�ำ้ 15. อุตสาหกรรมการผลิต สารโพลีเมอร์ ใช้เป็นสารช่วยในกระบวนการผลิตสารฟลูออโรโพลีเมอร์ เช่น โพลีเตตระฟลูออโรเอทิลีน (PTFE) เพอฟลูออโรอัลคอกซีอัลแคน (PFA) และโพลีไวนิลไอดีนฟลูออไรด์ (PVDF) เป็นต้น 16. อุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องหนัง และ เครื่องเรือน ถูกใช้ผลิตเสื้อผ้าในลักษณะเส้นใยที่มีรูพรุน รวมถึงใช้ตกแต่งหรือ เคลือบผิววัสดุของหนัง พรมหรือผ้า เพื่อให้กันน�้ำ ไขมัน ฝุ่น และ คราบสกปรก เช่น เสื้อกันน�้ำ รองเท้ากันน�้ำ เฟอร์นิเจอร์หรือ พรมป้องกันฝุ่น เป็นต้น 3. การปนเปือ้ นในสิง่ แวดล้อม ความตระหนั ก ต่ อ การปนเปื ้ อ นสาร PFASs ในสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ ที่ 20001 PFASs ถูกตรวจพบในหลากหลายตัวกลาง สิ่งแวดล้อม โดยสิ่งแวดล้อมน�้ำถือเป็นเส้นทางหลัก ของการแพร่ ก ระจายและเป็ น ตั ว กลางสุ ด ท้ า ยใน การรองรับ3 สาร PFASs ถูกตรวจพบในตัวอย่างน�้ำ ที่เก็บจากแม่น�้ำ ทะเล มหาสมุทร ทะเลสาบ และ อ่างเก็บน�้ำในหลายพื้นที่ทั่วโลก3, 6-8 รวมถึงในแผ่น น�ำ้ แข็ง9 ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ถูกบ่งชี้ว่าเป็นแหล่งก�ำเนิดส�ำคัญของสาร PFASs ไปยังแหล่งน�้ำต่าง ๆ10, 11 อีกทั้งกระบวนการตกแบบ เปียก (Wet Deposition) ในรูปของน�้ำฝนและหิมะ เป็นอีกเส้นทางการแพร่กระจายของสาร PFASs จาก ชั้นบรรยากาศลงสู่แหล่งน�้ำ การศึกษาการปนเปื้อน ในระบบนิเวศวิทยาแหล่งน�้ำทั้ง 3 ตัวกลาง ได้แก่ น�้ำ ตะกอนท้องน�้ำ และสัตว์น�้ำที่อาศัยในแหล่งน�้ำ นั้น12, 13 แสดงให้เห็นการสะสมและถ่ายทอดสาร PFASs ผ่านระบบห่วงโซ่อาหาร ซึง่ การบริโภคสัตว์ น�้ำเป็นเส้นทางรับสัมผัสสาร PFASs ที่ส�ำคัญใน มนุษย์ 1 รวมทั้งการรับสัมผัสจากอาหารชนิดต่าง ๆ14 และน�้ ำ บริ โ ภคอุ ป โภค ได้ แ ก่ น�้ ำ ใต้ ดิ น และน�้ ำ ประปา6, 15 ซึง่ น�ำ้ ชะขยะจากหลุมฝังกลบเป็นอีกแหล่ง ก�ำเนิดส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดการปนเปื้อนสาร PFASs ในน�ำ้ ผิวดินและน�ำ้ ใต้ดนิ 16 สาร PFASs ถูกตรวจพบ ในตัวอย่างผลิตภัณฑ์17, 18 เช่น เฟอร์นิเจอร์ พรม เสื้อผ้า ผลิตภัณฑ์บรรจุอาหาร วัสดุก่อสร้าง วัสดุ ตกแต่งรถยนต์ น�้ำยาดูแลหรือเคลือบผิวผลิตภัณฑ์ รวมถึงในของเสียอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งถูกปลดปล่อย ออกมาในสิ่งแวดล้อมระหว่างการใช้งานและการ ก�ำจัดทิ้ง โดยถ้าวิธีการก�ำจัดไม่เหมาะสมอาจท�ำให้ สาร PFASs ถู ก ปลดปล่ อ ยออกสู ่ สิ่ ง แวดล้ อ ม นอกจากนี้ อาจเกิดจากสารตั้งต้น (precursors) ที่ ถูกปลดปล่อยระหว่างการผลิต ใช้งาน และการก�ำจัด ทิ้ง และถูกย่อยสลายในสิ่งแวดล้อม2 สาร PFASs ในผลิตภัณฑ์หรือวัสดุเหล่านี้จะปนเปื้อนออกมาใน ลักษณะฝุ่นผงที่ตรวจพบตามพื้นผิวในอาคารบ้าน เรือน18-20 ซึง่ เป็นเส้นทางรับสัมผัสทีส่ ำ� คัญในเด็กเล็ก และบางชนิดสามารถระเหยออกมาในอากาศภายใน อาคารที่ตรวจพบในบ้าน สถานที่ท�ำงาน โรงเรียน ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๑ และในรถ 21-23 ซึ่ งส่งผลต่อ การรับสัมผัส ทางการ หายใจ สาร PFASs ความเข้มข้นสูงถูกตรวจพบใน ตัวอย่างอากาศทีเ่ ก็บจากบริเวณระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย24 และพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม23 ทีเ่ ป็นแหล่งก�ำเนิดส�ำคัญใน บรรยากาศทัว่ ไป นอกจากนี้ สาร PFASs ถูกตรวจ พบในบรรยากาศเหนือมหาสมุทรแอตแลนติกและ มหาสมุทรใต้ 25 แสดงให้เห็นการแพร่กระจายของ สาร PFASs ไปในบรรยากาศทั่วโลก 4. ผลกระทบต่อสุขภาพ มนุษย์มีความเสี่ยงต่อการรับสัมผัสสาร PFASs เข้าสูร่ า่ งกายได้หลายเส้นทาง สารประกอบ ฟลูออรีนในเลื อ ดของมนุ ษ ย์ ถู ก รายงานครั้ ง แรก โดย Taves ในปี 1968 และต่อมานักวิทยาศาสตร์ ของบริษัท 3M ซึ่งใช้เครื่องมือวิเคราะห์คุณภาพ ขั้นสูงยืนยันการตรวจพบสาร PFOS และ PFOA ในตัวอย่างเลือดของมนุษย์และสัตว์ 26 ส่งผลให้มี การเฝ้าระวังทางชีวภาพต่อการรับสัมผัสสารกลุ่ม PFASs ในมนุษย์อย่างต่อเนื่อง การทบทวนผล การศึ ก ษาที่ ผ ่ า นมามี ก ารตรวจพบสาร PFASs ในตั ว อย่ า งเลื อ ดของประชากรหลายประเทศทั่ ว โลก27-29 เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา สเปน เยอรมนี นอร์เวย์ อิตาลี โปแลนด์ เบลเยียม สวีเดน เดนมาร์ก โคลอมเบีย บราซิล แอฟริกาใต้ ออสเตรเลีย ญีป่ นุ่ จีน อินเดีย เกาหลี มาเลเซีย เป็นต้น รวมทั้งในตัวอย่าง น�้ำนมและปัสสาวะ ยืนยันการรับสัมผัสสาร PFASs ของมนุษย์ ผลการศึกษาในกลุ่มมารดาและเด็กแรก คลอดพบความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ สาร PFASs ในตัวอย่างเลือดของมารดากับเลือด ที่เก็บจากสายสะดือของทารก แสดงถึงการถ่ายทอด สาร PFASs ในระยะก่อนคลอดผ่านรกจากมารดา ไปยังทารกในครรภ์29, 30 และผลการศึกษาในกลุ่ม มารดาและเด็กพบการถ่ายทอดสาร PFASs ใน ระยะหลั ง คลอดผ่ า นการให้ น มบุ ต ร30 การศึ ก ษา ครึ่งชีวิตของ PFOS และ PFOA ในเลือดมนุษย์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.5-4.1 ปี และ 3.0-3.6 ปี วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา :  157 ตามล�ำดับ28 ในขณะที่การก�ำจัดสาร PFOS และ PFOA ออกจากร่างกายโดยไตเป็นไปได้น้อยมาก31 ท�ำให้สารเหล่านี้สามารถตกค้างสะสมอยู่ในอวัยวะ ในร่างกาย ได้แก่ ตับ และไต การศึกษาความเป็น พิษของสาร PFASs ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาในสัตว์ ทดลองโดยเฉพาะจากสาร PFOA และ PFOS ผล การศึกษายืนยันการเกิดพิษแบบเรือ้ รังกับสัตว์ทดลอง ได้แก่ ความเป็นพิษต่อตับ ไต การเจริญเติบโต ภาวะ ภูมคิ มุ้ กัน การสืบพันธุ์ ต่อมไร้ทอ่ รวมถึงมะเร็ง14, 26, 32 อย่างไรก็ตาม ค่าครึง่ ชีวติ ของสาร PFASs ในสัตว์ ทดลองมีระยะเวลาทีส่ นั้ กว่าในมนุษย์และมีกลไกการ เกิดพิษที่แตกต่างกัน33 จึงมีความจ�ำเป็นต้องศึกษา กลไกการเกิดพิษของสาร PFASs ในมนุษย์เพิ่ม เติมต่อไป ส�ำหรับผลกระทบต่อมนุษย์มผี ลการศึกษา ทางระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ทแี่ สดงให้เห็นถึงความ สัมพันธ์ของระดับสาร PFASs บางชนิดในร่างกาย กับผลกระทบต่อสุขภาพ ได้แก่ การเจริญเติบโต ของทารกในครรภ์34 การเกิดภูมิแพ้35 ความสามารถ ในการท�ำงานของไต36 โรคหัวใจและหลอดเลือด37 การเพิ่มขึ้นของระดับไทรอยด์ฮอร์โมน38 และระดับ คอเลสเตอรอล39 ส�ำหรับ PFOA ถูกจัดให้เป็นสาร ทีม่ โี อกาสก่อมะเร็งในมนุษย์ (กลุม่ 2B) โดยองค์การ วิจัยมะเร็งนานาชาติ (IARC)14 5. การด�ำเนินการควบคุม จากผลการตรวจพบสาร PFOS และ PFOA ในเลือดของมนุษย์ ท�ำให้บริษทั 3M ประกาศ ยกเลิกการผลิตและใช้สารเหล่านี้ในปี 2000 โดย ด�ำเนินการเสร็จสมบูรณ์ในปี 200226 หลังจากนั้น บริษัทผู้ผลิตทั่วโลกได้พยายามทดแทนสาร PFASs สายยาวในกลุ่ม PFCAs และ PFSAs รวมถึง สารตั้งต้นของสารเหล่านี้ด้วยสาร PFASs สายสั้น หรือทดแทนด้วยสารกลุ่มอื่นที่ไม่ใช่ PFASs ซึ่ง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดขึน้ เนือ่ งจากคุณสมบัติ ที่ไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์และ สิง่ แวดล้อม2 ในปี 2006 US EPA ได้ริเริ่มโครงการ  158 The Public Health Journal of Burapha University : Vol.13 No.2 July - December 2018 เพือ่ ควบคุมการผลิตและการปล่อยสาร PFOA ออก สูส่ งิ่ แวดล้อม1 และปี 2009 สาร PFOS และอนุพนั ธ์ ของ PFOS ถูกประกาศห้ามผลิตและใช้ภายใต้ อนุสัญญาสตอกโฮล์ม40 นอกจากนี้ กลุ่มประเทศ อเมริ ก าเหนื อ และยุโรปก�ำลังด�ำเนินการเสนอข้อ กฎหมายและจัดการความเสี่ยงเพื่อควบคุมสารกลุ่ม PFCAs ชนิดที่เป็นสายยาว ทั้งการจ�ำกัดหรือห้าม การผลิตและใช้ รวมทั้งควบคุมการถือครองและ การปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม2 ประเทศหรือหน่วย งานต่าง ๆ ได้ก�ำหนดค่ามาตรฐานของสาร PFOA และ PFOS ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ค่าแนะน�ำและค่าระดับที่ยอมรับได้ของสาร PFOA และ PFOS ค่าแนะน�ำ/ ค่าระดับที่ยอมรับได้ ค่าแนะน�ำ (Guideline) ในน�้ำดื่ม41 Tolerable Daily Intake (TDI) 42, 43 Reference dose (RfD) 44, 45 Slope factor44 หน่วยงาน/ ประเทศ รัฐนิวเจอร์ซี รัฐมินนิโซตา US EPA แคนาดา รัฐนอร์ทแคโรไลนา UK HPA UK FSA US EPA US EPA สถานการณ์ การปนเปื้อน PFASs ในสิ่งแวดล้อมประเทศไทย จากการทบทวนผลการศึกษาในประเทศไทยที่ ผ่านมาตรวจพบสาร PFASs ในตัวอย่างสิง่ แวดล้อม จ�ำนวน 5 กลุม่ รวม 20 ชนิด (ตารางที่ 3) ประกอบ ด้วย กลุม่ Perfluoroalkyl carboxylic acid (PFCAs) จ�ำนวน 9 ชนิด ได้แก่ Perfluorobutanoic acid (PFBA) Perfluoropropanoic acid (PFPA) Pefluorohexanoic acid (PFHxA) Perfluoroheptanoic acid (PFHpA) Perfluorooctanoic acid (PFOA) Perfluorononanoic acid (PFNA) PFOA PFOS 0.04 mg/L 0.3 mg/L 0.2 mg/L 0.4 mg/L 0.2 mg/L 0.7 mg/L 0.3 mg/L 2 mg/L 10 mg/L 0.3 mg/L 3 mg/kg bw/day 0.3 mg/kg bw/ day 20 ng/kg/day 20 ng/kg/day 0.07 (mg/kg/ day)-1 Perfluorodecanoic acid (PFDA) Perfluoroundecanoic acid (PFUnA) และ Perfluorododacanoic acid (PFDoDA) กลุ่ม Perfluoroalkyl sulfonic acids (PFSAs) จ�ำนวน 3 ชนิด ได้แก่ Perfluorobutane sulfonic acid (PFBS) Perfluorohexane sulfonic acid (PFHxS) และ Perfluorooctane sulfonic acid (PFOS) กลุ่ม Fluorotelomer alcohols (FTOHs) จ�ำนวน 3 ชนิด ได้แก่ 6:2 Fluorotelomer alcohol (6:2 FTOH) 8:2 Fluorotelomer alcohol (8:2 FTOH) และ 10:2 Fluorotelomer alcohol (10:2 FTOH) กลุม่ ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๑ Perfluoroalkane sulfonamide (FASAs) จ�ำนวน 3 ชนิด ได้แก่ Perfluoro-1-octanesulfonamide (FOSA) N-methylperfluoro-1-octanesulfonamide (MeFOSA) และ N-ethylperfluoro-1-octanesulfonamide (EtFOSA) กลุ่ม Perfluoroalkane sulfonamidoethanol (FASEs), จ�ำนวน 2 ชนิด ได้แก่ 2-(N-methylperfluoro-1-octanesulfonamido)-ethanol (MeFOSE) และ 2-(N-ethylperfluoro1-octanesulfonamido)-ethanol (EtFOSE) การปนเปือ้ นสาร PFASs ในน�ำ้ มีการศึกษามากทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับตัวกลางสิง่ แวดล้อมอืน่ ๆ โดยในปี พ.ศ. 2552 ได้มีการศึกษาการปนเปื้อนในตัวอย่างน�้ำดิบ (2 ตัวอย่าง) ในระบบการปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ ประปา ได้แก่ น�้ำเข้าระบบ, ในถังท�ำน�้ำใส, ระบบกรองทราย และน�ำ้ ผ่านการปรับปรุง (กระบวนการละ 8 ตัวอย่าง รวม 32 ตัวอย่าง) น�ำ้ ประปา (28 ตัวอย่าง) และน�ำ้ ดืม่ บรรจุขวด (20 ตัวอย่าง) ในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร46 ผลการศึกษาตรวจพบสารกลุม่ PFCAs และ PFSAs 5 ชนิด มีความเข้มข้นรวมอยู่ระหว่าง 3.31-25.79 ng/L โดยชนิ ด ที่ ต รวจพบมากที่ สุ ด คื อ PFOA นอกจากนี้ กระบวนการปรับปรุงคุณภาพน�้ำประปา ไม่สามารถก�ำจัดสาร PFASs ออกจากน�้ำได้ และ ในน�้ำดื่มบรรจุขวดมีความเข้มข้นสูงกว่าน�้ำประปา ในปีเดียวกันมีการศึกษาการปนเปื้อนสาร PFASs ในตัวอย่างน�้ำจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลางของ นิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวัน ออกจ�ำนวน 2 แห่ง47 โดยเก็บตัวอย่างน�้ำที่เข้าระบบ น�้ำในถังเติมอากาศ น�้ำในถังตกตะกอนขั้นที่ 2 และ น�้ำออกจากระบบบ�ำบัด (อย่างละ 10 ตัวอย่าง รวม 40 ตัวอย่าง) และตัวอย่างกากตะกอน (4 ตัวอย่าง) ผลการศึกษาพบสารกลุ่ม PFCAs และ PFSAs 10 ชนิด โดยมีคา่ ความเข้มข้นรวมอยูร่ ะหว่าง 661.81,382.8 ng/L และพบว่าระบบบ�ำบัดน�้ำเสียทั้ง 2 แห่ง ไม่สามารถก�ำจัดสาร PFASs ออกจากน�้ำ วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา :  159 เสียได้ ต่อมาในปี พ.ศ.2554 มีการตรวจสอบการปน เปื้อนสาร PFASs ในตัวอย่างน�้ำจากระบบบ�ำบัดน�้ำ เสียชุมชน จ�ำนวน 7 แห่ง ในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร48 โดยทั้ ง หมดเป็ น ระบบตะกอนเร่ ง (Activated Sludge) ผลการศึกษาพบสารกลุ่ม PFCAs และ PFSAs 11 ชนิด ความเข้มข้นรวมในตัวอย่างน�้ำเข้า และน�้ำออกจากระบบบ�ำบัดมีค่าระหว่าง 9.4-18.4 ng/L และ 12.7-63.6 ng/L ตามล�ำดับ ชนิดทีพ่ บ การปนเปือ้ นมากทีส่ ดุ คือ PFOS และ PFOA และ ผลการศึกษาสรุปว่ากระบวนการบ�ำบัดน�้ำเสียระบบ ตะกอนเร่งไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะก�ำจัดสาร PFASs ออกจากน�้ำเสียได้ นอกจากนี้ ในระหว่าง ปี พ.ศ. 2556-2557 มีการตรวจวัดสาร PFASs ใน ตัวอย่างน�้ำผิวดินบริเวณปากแม่น�้ำสายหลัก 4 สาย (แม่นำ�้ เจ้าพระยา แม่นำ�้ ท่าจีน แม่นำ�้ แม่กลอง และ แม่นำ�้ บางปะกง) และบริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดสมุทรปราการ ล�ำพูน และระยอง49 ผลการ ศึกษาตรวจพบการปนเปือ้ นสาร PFOA ในแม่นำ�้ สาย หลักอยู่ระหว่าง 1.4-16.9 ng/L ส่วนสาร PFOS อยู่ร ะหว่างตรวจไม่พบจนถึง 53.5 ng/L ส่วน ในตัวอย่างน�้ำผิวดินบริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรม ตรวจพบการปนเปื้อนสูงกว่าแม่น�้ำสายหลักโดยสาร PFOA และ PFOS มีค่าอยู่ระหว่าง 11.7-118.7 ng/L และ 22.8-434.5 ng/L ตามล�ำดับ และ ในปี พ.ศ. 2558 ศึกษาการปนเปื้อนสาร PFASs ในตัวอย่างน�้ำประปาในพื้นที่ กทม. โดยตรวจพบ สารกลุ่ม PFCAs และ PFSAs จ�ำนวน 6 ชนิด50 ความเข้มข้นรวมมีค่าระหว่าง 0.58-1.15 ng/L ผลการศึกษานี้พบว่ากระบวนการปรับปรุงคุณภาพ น�้ำประปาทั่วไป ได้แก่ การสร้างตะกอน การรวม ตะกอน การกรองและการฆ่ า เชื้ อ ด้ ว ยคลอรี น ไม่ สามารถก�ำจัดสาร PFASs ออกจากน�้ำดิบได้ ใน ขณะที่กระบวนการปรับปรุงคุณภาพน�้ำขั้นสูง ได้แก่ การกรองด้วยถ่านกัมมันต์ (GAC) และรีเวิร์สออส โมสิส (RO) สามารถก�ำจัด PFASs ได้ประมาณ  160 The Public Health Journal of Burapha University : Vol.13 No.2 July - December 2018 ร้อยละ 86 นอกจากผลการศึกษาในสิ่งแวดล้อม น�้ำแล้ว มีการวิจัย PFASs ในตัวอย่างฝุ่นพื้นผิว ที่เก็บจากบ้านเรือนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและ นครศรีธรรมราช20 โดยตรวจพบสารกลุ่ม PFCAs, PFSAs, FASAs และ FASEs จ�ำนวน 8 ชนิด มี ค วามเข้ ม ข้ น รวมระหว่ า ง 54-1,310 ng/g โดยชนิ ด ที่ พ บการปนเปื ้ อ นสู ง สุ ด คื อ EtFOSA และในปี พ.ศ.255751 ศึกษาการปนเปือ้ นสาร PFASs ในตั ว อย่ า งอากาศในบรรยากาศทั่ ว ไป (อากาศ ภายนอกอาคาร) จ�ำนวน 8 แห่ง ได้แก่ บริเวณพื้นที่ ชุมชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล บริเวณ ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียรวมของนิคมอุตสาหกรรม รวมทัง้ ตัวอย่างอากาศภายในอาคารจ�ำนวน 6 แห่ง ได้แก่ ส�ำนักงาน บ้านพักอาศัย คอนโดมิเนียม ร้านถ่าย เอกสาร ร้านขายเฟอร์นิเจอร์ และห้องปฏิบัติการ ผลการศึกษาตรวจพบสารกลุม่ FTOHs และ PFCAs จ�ำนวน 10 ชนิด ความเข้มข้นรวมของ FTOHs มีค่า ตั้งแต่ 1,690- 13,030 pg/m3 ซึ่งสูงกว่าค่าความ เข้มข้นรวมของ PFCAs ทีม่ คี า่ ระหว่าง 4-10 pg/m3 โดยชนิดที่พบการปนเปื้อนสูงสุด คือ 10:2 FTOH ตารางที่ 3 การปนเปื้อนสาร PFASs ในสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ช่วงความเข้มข้น (ค่าเฉลี่ย) ชนิดสาร PFASs น�้ำดิบ/ ประปา และน�้ำดื่ม: ng/L PFBA - 46 น�้ำเข้า/ 47 น�้ำในระบบ ออกระบบ บ�ำบัดน�ำ้ เสีย น�้ำประปา: บ�ำบัดน�้ำ อุตสาหกรรม: ng/L เสียชุมชน: ng/L ng/L 0.13-0.50 48 50 PFPA 0.28-2.88 0.13-0.24 PFHxA ND-0.43 ND-0.12 PFHpA ND-1.65 ND PFOA 1.43-16.54 0.15-0.31 น�้ำผิวดิน: ng/L 49 20 ฝุ่นพื้นผิว: ng/g - อากาศ ทั่วไป: pg/m3 51 - อากาศใน อาคาร: pg/m3 51 - 1.4-2.4/ 1.3-5.7 0.6-1.5/ 1.3-5.7 0.4-1.8/ 2.5-5.1 1.5-5.4/ 0.8-6.8 0.4-0.9/ 2.2-7.4 0.2-0.8/ 0.8-5.3 1.1-32.4 - 0.56-1.73 (1.01) 0.1-84.9 1.14-26.73 (6.14) 0.8-46.8 0.69-10.44 (2.47) 6.6-149.8 1.4-118.7 <0.98-290 2.74-58.97 (45) (13.15) 15.3-353.2 <0.06-22.92 (5.04) 1.2-118.8 0.69-9.04 (3.64) 0.65-2.03 (1.19) 0.74-14.86 (4.89) 0.54-3.24 (1.77) 1.13-31.08 (10.76) 0.19-4.46 (2.15) 0.28-1.25 (0.77) 0.48-11.74 <0.39-1.11 (2.96) (0.75) PFNA <0.02 ND PFDA <0.04 ND PFUnDA <0.22 ND-0.16 <0.28/ <0.28-4.7 3.1-338.2 - PFDoDA <0.22 - <0.07-48.4 - <0.39 <0.39 PFBS <0.03 ND <0.28/ <0.28-4.2 0.6-1.4/ 0.4-8.5 - - - - ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๑ วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา :  161 ตารางที่ 3 การปนเปื้อนสาร PFASs ในสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย (ต่อ) ช่วงความเข้มข้น (ค่าเฉลี่ย) ชนิดสาร PFASs น�้ำดิบ/ ประปา และน�้ำดื่ม: ng/L PFHxS - PFOS 46 น�้ำเข้า/ 47 น�้ำในระบบ ออกระบบ 50 บ�ำบัดน�ำ้ เสีย น�้ำประปา: บ�ำบัดน�้ำ อุตสาหกรรม: ng/L เสียชุมชน: ng/L ng/L ND 0.5-2.2/ 8.7-50.4 0.1-6.5 48 0.22-6.28 ND-0.12 น�้ำผิวดิน: ng/L 49 2.7-5.6/ 190.1-672.9 ND-434.5 2.6-9.3 - ฝุ่นพื้นผิว: ng/g 20 - - 3.0-130 (32) - - - 110-660 (360) 340-4,520 (1,540) - - 8:2 FTOH 10:2 FTOH - - - - - - - - - - FOSA - - - - MeFOSA EtFOSA - - - - - - - - <0.02-41 (13) <0.1-13 (1.6) <0.07-940 (140) MeFOSE EtFOSE - - - - - - - 661.81,382.8 - อากาศใน อาคาร: pg/m3 51 3.0-84 (25) 6:2 FTOH SPFASs 3.31-25.79 0.58-1.15 9.4-18.4/ 12.7-63.6 อากาศ ทั่วไป: pg/m3 51 <0.22-140 (14) <0.12-350 (59) 54-1,310 (330) 280-5,780 520-3,970 (1,490) (1,980) 510-5,460 1,040(2,120) 8,860 (4,050) - - - - - - - - 1,74011,960 (4,010) 2,53013,040 (7,590) หมายเหตุ: - หมายถึง ไม่ได้ตรวจวิเคราะห์, ND หมายถึง ตรวจไม่พบ (Not detectable) บทสรุปและข้อเสนอแนะ ที่เกิดขึ้นจากการน�ำสาร PFASs ไปใช้ประโยชน์ ในประเทศที่พัฒนาแล้วโดยเฉพาะในทวีป ความตระหนักถึงอันตรายและความเสี่ยงต่อสุขภาพ ยุโรปและอเมริกาเหนือ มีผลการศึกษาที่ยืนยันการ ของประชาชนจากการรับสัมผัสสารกลุ่มนี้ ส่งผลให้ ปนเปือ้ นสาร PFASs ในสิง่ แวดล้อม และผลกระทบ มีการควบคุมการผลิตและใช้งานสาร PFASs ใน  162 The Public Health Journal of Burapha University : Vol.13 No.2 July - December 2018 หลายประเทศ ส�ำหรับผลการศึกษาทีเ่ กีย่ วข้องกับสาร PFASs ในประเทศไทย มีเพียงการตรวจสอบการปน เปือ้ นในตัวอย่างสิง่ แวดล้อม ได้แก่ น�ำ้ ฝุน่ พืน้ ผิว และ อากาศ (ภาพที่ 1) โดยผลการศึกษาที่ผ่านมาบ่งชี้ ถึงการปนเปื้อนสาร PFASs ในทุกตัวกลางที่ตรวจ สอบ ซึ่งอาจท�ำให้เกิดการสะสมสาร PFASs ในสิ่ง แวดล้อมของประเทศในระยะยาวหากปราศจากการ ควบคุมแหล่งก�ำเนิด และก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อ คนไทยจากการรับสัมผัสสาร PFASs ผ่านตัวกลาง สิ่งแวดล้อมที่มีการปนเปื้อน แต่ปัจจุบันยังไม่มีผล การศึกษาทีย่ นื ยันถึงผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ กลายเป็นภัย เงียบทีค่ นไทยต้องเผชิญ การศึกษาวิจยั สาร PFASs ในประเทศไทยยังมีอยู่จ�ำกัด ไม่ว่าจะเป็นการศึกษา แหล่งก�ำเนิดทั้งในส่วนของการผลิตและการใช้งาน ในอุตสาหกรรมและในผลิตภัณฑ์ที่มีสาร PFASs เป็นส่วนประกอบ รวมถึงการตรวจสอบการปนเปือ้ น จากแหล่ ง ก� ำ เนิ ด ส� ำ คั ญ โดยเฉพาะน�้ ำ ชะขยะจาก หลุมฝังกลบรวมถึงน�ำ้ ใต้ดนิ ทีม่ กี ารใช้สำ� หรับบริโภค ของประชาชนที่อยู่บริเวณโดยรอบ การศึกษาการ ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมที่จ�ำกัดพื้นที่ศึกษาเฉพาะ ในกรุงเทพมหานครและนิคมอุตสาหกรรมบางแห่ง ท� ำ ให้ ข าดข้ อ มู ล ภาพรวมในระดั บ ประเทศ และ ไม่ครอบคลุมตัวกลางสิ่งแวดล้อมที่จะน�ำไปสู่การ ประเมินการรับสัมผัสโดยเฉพาะการปนเปื้อนสาร PFASs ในตัวอย่างอาหารที่ถือเป็นเส้นทางการรับ สัมผัสที่ส�ำคัญ นอกจากนี้ ยังไม่มีการศึกษาการปน เปื้อนสาร PFASs ในตัวอย่างทางชีวภาพ เช่น ใน ตัวอย่างเลือดโดยเฉพาะของประชาชนในพืน้ ทีท่ ตี่ รวจ พบการปนเปือ้ นสาร PFASs ในสิง่ แวดล้อม เป็นต้น แม้วา่ การศึกษาสาร PFASs ในประเทศไทยจะมีขอ้ จ�ำกัดทั้งในส่วนของบุคลากร เครื่องมือในการตรวจ วิเคราะห์ และงบประมาณในการด�ำเนินการ แต่ดว้ ย ลักษณะอันตรายทัง้ การตกค้างยาวนานในสิง่ แวดล้อม การสะสมในเนื้ อ เยื่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต และความเป็ น พิ ษ ของสาร PFASs ท�ำให้การศึกษาวิจัยสารกลุ่มนี้ใน ประเทศไทยยังมีความจ�ำเป็นอย่างมาก เพือ่ ให้มฐี าน ข้อมูลความรู้ที่มากพอในการสนับสนุนการออกข้อ ก�ำหนดหรือกฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ส�ำหรับควบคุมการผลิต และใช้สาร PFASs อย่างจริงจัง และป้องกันผลกระ ทบทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในอนาคตเพือ่ ให้ภัยเงียบที่ว่าเกิด ขึ้นจากลักษณะความเป็นอันตรายของสาร PFASs เท่านั้น ไม่ใช่เป็นภัยที่เกิดจากการละเลย อากาศ ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย น�ำ้ ผิวดิน ตะกอนท้องน�ำ้ สัตว์นำ�้ การผลิตและ ใช้ผลิตภัณฑ์ กากตะกอน ฝุน่ พืน้ ผิว ในอาคาร ดิน สัตว์บก พืช หลุมฝังกลบ น�ำ้ ใต้ดนิ มนุษย์ เส้นทางการรับสัมผัส - หายใจ - กินอาหาร - ดืม่ น�ำ้ - สัมผัสกับฝุน่ พืน้ ผิว - การถ่ายทอด ระหว่างตัง้ ครรภ์ - นมแม่ ภาพที่ 1 การศึกษาการปนเปือ้ นของสาร PFASs ในสิง่ แวดล้อมของประเทศไทย (ปรับจาก Ahren, 20113) ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๑ เอกสารอ้างอิง 1. US EPA. Contaminants of Emerging Concern (CECs) in Fish: Perfluorinated Compounds (PFCs). In: Office of Water, editor.2013. p. 3. 2. OECD. OECD/UNEP Global PFC Group, Synthesis paper on per- and polyfluorinated chemicals (PFCs), Environment, Health and Safety: Environment Directorate, OECD; 2013. Available from: http://www.oecd.org/ chemicalsafety/risk-management/ synthesis-paper-on-per-and-polyfluorinated-chemicals.htm. 3. Ahrens L. Polyfluoroalkyl compounds in the aquatic environment: a review of their occurrence and fate. Journal of Environmental Monitoring. [10.1039/ C0EM00373E]. 2011;13(1):20-31. 4. Buck RC, Franklin J, Berger U, Conder JM, Cousins IT, de Voogt P, et al. Perfluoroalkyl and Polyfluoroalkyl Substances in the Environment: Terminology, Classification, and Origins. Integrated Environmental Assessment and Management. 2011;7(4):513-41. 5. Jensen AA, Poulsen PB, Bossi R. Survey and environmental/health assessment of fluorinated substances in impregnated consumer products and impregnating agents: Danish EPA2008. Report No.: Survey of Chemical Substances in Consumer Products, No.99. 6. Sharma BM, Bharat GK, Tayal S, Larssen T, Bečanová J, Karásková P, et วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา :  163 al. Perfluoroalkyl substances (PFAS) in river and ground/drinking water of the Ganges River basin: Emissions and implications for human exposure. Environmental Pollution. 2016 2016/01/01/;208(Part B):704-13. 7. Zhao Z, Xie Z, Tang J, Sturm R, Chen Y, Zhang G, et al. Seasonal variations and spatial distributions of perfluoroalkyl substances in the rivers Elbe and lower Weser and the North Sea. Chemosphere. 2015 2015/06/01/;129(Supplement C):118-25. 8. Zhao Z, Xie Z, Möller A, Sturm R, Tang J, Zhang G, et al. Distribution and long-range transport of polyfluoroalkyl substances in the Arctic, Atlantic Ocean and Antarctic coast. Environmental Pollution. 2012 2012/11/01/;170 (Supplement C):71-7. 9. Kirchgeorg T, Dreyer A, Gabrielli P, Gabrieli J, Thompson LG, Barbante C, et al. Seasonal accumulation of persistent organic pollutants on a high altitude glacier in the Eastern Alps. Environmental Pollution. 2016 2016/11/01/;218 (Supplement C):804-12. 10. Ahrens L, Felizeter S, Sturm R, Xie Z, Ebinghaus R. Polyfluorinated compounds in waste water treatment plant effluents and surface waters along the River Elbe, Germany. Marine Pollution Bulletin. 2009 2009/09/01/;58(9):1326-33. 11. Dauchy X, Boiteux V, Bach C, Colin A, Hemard J, Rosin C, et al. Mass flows  164 The Public Health Journal of Burapha University : and fate of per- and polyfluoroalkyl substances (PFASs) in the wastewater treatment plant of a fluorochemical manufacturing facility. Science of The Total Environment. 2017 2017/01/15/;576(Supplement C):54958. 12. Ahrens L, Gashaw H, Sjöholm M, Gebrehiwot SG, Getahun A, Derbe E, et al. Poly- and perfluoroalkylated substances (PFASs) in water, sediment and fish muscle tissue from Lake Tana, Ethiopia and implications for human exposure. Chemosphere. 2016 2016/12/01/;165(Supplement C):352-7. 13. Lam NH, Cho C-R, Kannan K, Cho H-S. A nationwide survey of perfluorinated alkyl substances in waters, sediment and biota collected from aquatic environment in Vietnam: Distributions and bioconcentration profiles. Journal of Hazardous Materials. 2017 2017/02/05/;323(Part A):116-27. 14. IARC. IARC monographs on the evaluation of carcinogenic risk to humans. Lyon: International Agency for Research on Cancer; 2017. Available from: http:// monographs.iarc.fr/ENG/Monographs/ vol110/mono110.pdf. 15. Yao Y, Zhu H, Li B, Hu H, Zhang T, Yamazaki E, et al. Distribution and primary source analysis of per- and poly-fluoroalkyl substances with different chain lengths in surface and groundwater in two cities, North Vol.13 No.2 July - December 2018 China. Ecotoxicology and Environmental Safety. 2014 2014/10/01/;108(Supplement C):318-28. 16. Banzhaf S, Filipovic M, Lewis J, Sparrenbom CJ, Barthel R. A review of contamination of surface-, ground-, and drinking water in Sweden by perfluoroalkyl and polyfluoroalkyl substances (PFASs). Ambio. 2017;46(3):335-46. 17. Bečanová J, Melymuk L, Vojta Š, Komprdová K, Klánová J. Screening for perfluoroalkyl acids in consumer products, building materials and wa s t e s. C h e m o s p h e r e. 2 0 1 6 2016/12/01/;164(Supplement C):322-9. 18. Shoeib T, Hassan Y, Rauert C, Harner T. Poly- and perfluoroalkyl substances (PFASs) in indoor dust and food packaging materials in Egypt: Trends in developed and developing countries. Chemosphere. 2016 2016/02/01/;144(Supplement C):1573-81. 19. Tian Z, Kim S-K, Shoeib M, Oh J-E, Park J-E. Human exposure to per- and polyfluoroalkyl substances (PFASs) via house dust in Korea: Implication to exposure pathway. Science of The Total Environment. 2016 2016/05/15/;553(Supplement C):266-75. 20. Goosey E, Harrad S. Perfluoroalkyl compounds in dust from Asian, Australian, European, and North American homes and UK cars, classrooms, and offices. Environment International. 2011 2011/01/01/;37(1):86-92. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๑ 21. Fromme H, Dreyer A, Dietrich S, Fembacher L, Lahrz T, Völkel W. Neutral polyfluorinated compounds in indoor air in Germany – The LUPE 4 study. Chemosphere. 2015 2015/11/01/;139 (Supplement C):572-8. 22. Schlummer M, Gruber L, Fiedler D, Kizlauskas M, Müller J. Detection of fluorotelomer alcohols in indoor environments and their relevance for human exposure. Environment International. 2013 2013/07/01/;57-58 (Supplement C):42-9. 23. Kim S-K, Shoeib M, Kim K-S, Park J-E. Indoor and outdoor poly- and perfluoroalkyl substances (PFASs) in Korea determined by passive air sampler. Environmental Pollution. 2012 2012/03/01/;162(Supplement C):144-50. 24. Vierke L, Ahrens L, Shoeib M, Reiner EJ, Guo R, Palm W-U, et al. Air concentrations and particle–gas partitioning of polyfluoroalkyl compounds at a wastewater treatment plant. Environmental Chemistry. 2011;8(4):363-71. 25. Dreyer A, Weinberg I, Temme C, E b i n g h a u s R . Po l y fl u o r i n at e d Compounds in the Atmosphere of the Atlantic and Southern Oceans: Evidence for a Global Distribution. Environmental Science & Technology. 2009 2009/09/01;43(17):6507-14. 26. Andersen ME, Butenhoff JL, Chang S-C, Farrar DG, Kennedy JGL, Lau C, et al. Perfluoroalkyl Acids and วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา :  165 Related Chemistries—Toxicokinetics and Modes of Action. Toxicological Sciences. 2008;102(1):3-14. 27. Miralles-Marco A, Harrad S. Perfluorooctane sulfonate: A review of human exposure, biomonitoring and the environmental forensics utility of its chirality and isomer distribution. Environment International. 2015 2015/04/01/;77(Supplement C):148-59. 28. Worley RR, Moore SM, Tierney BC, Ye X, Calafat AM, Campbell S, et al. Per- and polyfluoroalkyl substances in human serum and urine samples from a residentially exposed community. Environment International. 2017 2017/09/01/;106(Supplement C):135-43. 29. Manzano-Salgado CB, Casas M, Lopez-Espinosa M-J, Ballester F, Basterrechea M, Grimalt JO, et al. Transfer of perfluoroalkyl substances from mother to fetus in a Spanish birth cohort. Environmental Research. 2015 2015/10/01/;142(Supplement C):471-8. 30. Cariou R, Veyrand B, Yamada A, Berrebi A, Zalko D, Durand S, et al. Perfluoroalkyl acid (PFAA) levels and profiles in breast milk, maternal and cord serum of French women and their newborns. Environment International. 2015 2015/11/01/;84(Supplement C):71-81. 31. Harada K, Inoue K, Morikawa A, Yoshinaga T, Saito N, Koizumi A. Renal clearance of perfluorooctane sulfonate and perfluorooctanoate in  166 The Public Health Journal of Burapha University : humans and their species-specific excretion. Environmental Research. 2005 2005/10/01/;99(2):253-61. 32. Li K, Gao P, Xiang P, Zhang X, Cui X, Ma LQ. Molecular mechanisms of PFOA-induced toxicity in animals and humans: Implications for health risks. Environment International. 2017 2017/02/01/;99(Supplement C):43-54. 33. Ye X, Kato K, Wong L-Y, Jia T, Kalathil A, Latremouille J, et al. Per- and polyfluoroalkyl substances in sera from children 3 to 11 years of age participating in the National Health and Nutrition Examination Survey 2013–2014. International Journal of Hygiene and Environmental Health. 2018 2018/01/01/;221(1):9-16. 34. Callan AC, Rotander A, Thompson K, Heyworth J, Mueller JF, Odland JØ, et al. Maternal exposure to perfluoroalkyl acids measured in whole blood and birth outcomes in offspring. Science of The Total Environment. 2016 2016/11/01/;569-570(Supplement C):1107-13. 35. Goudarzi H, Miyashita C, Okada E, Kashino I, Kobayashi S, Chen C-J, et al. Effects of prenatal exposure to perfluoroalkyl acids on prevalence ofallergic diseases among 4-year-old children. Environment International. 2016 2016/09/01/;94(Supplement C):124-32. 36. Kataria A, Trachtman H, MalagaDieguez L, Trasande L. Association Vol.13 No.2 July - December 2018 between perfluoroalkyl acids and kidney function in a cross-sectional study of adolescents. Environmental Health. 2015 2015/11/21;14(1):89. 37. Shankar A, Xiao J, Ducatman A. Perfluorooctanoic acid and cardiovascular disease in us adults. Archives of Internal Medicine. 2012;172(18):1397-403. 38. Jain RB. Association between thyroid profile and perfluoroalkyl acids: Data from NHNAES 2007–2008. Environmental Research. 2013 2013/10/01/;126 (Supplement C):51-9. 39. Nelson JW, Hatch EE, Webster TF. Exposure to polyfluoroalkyl chemicals and cholesterol, body weight, and insulin resistance in the general U.S. population. Environmental Health Perspectives. [Article]. 2010;118(2):197-202. 40. UNEP. COP.4 Document. Fourth meeting of the conference of the Parties to the Stockholm Convention on Persistent Organic Pollutants. Geneva2009 4-8 May 2009. Report No.: SC-4/17. 41. Maxxam Analytics Internation Corporation. Analytical Guidelines for PFCs2015 [cited 2015 August]: Available from: http://maxxam.ca/wp-content/ uploads/2015/08/tb-PFCs-20150825.pdf. 42. UK FSA. COT statement on the Tolerable Daily Intake for Perfluorooctanoic Acid. In: Committee on Toxicity, editor.: UK Food Standards Agency; 2006. 43. UK FSA. COT Statment on the Tolerable Daily Intake for Perfluorooctane ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๑ วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา :  167 4 สาย และบริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรมจังหวัด Sulfonate. In: Committee on Toxicity, สมุ ท รปราการ ล� ำ พู น และระยอง. Green editor.: UK Food Standards Agency; Research. 2557;11(28):12-5. 2006. 44. Donohue JM, Duke TM, Wambaugh J. 50. Tabtong W, Boontanon SK, Boontanon N. Fate and Risk Assessment of Health Effects Support Document for Perfluoroalkyl Substances (PFASs) Perfluoroctanoic Acid (PFOA). In: Office in Water Treatment Plants and of Water, editor. Washington, DC: US Tap Water in Bangkok, Thailand. EPA; 2016. Procedia Environmental Sciences. 2015 45. Donohue JM, Mahfouz A, Duke TM, 2015/01/01/;28(Supplement C):750-7. Wambaugh J. Health Effects Support Document for Perfluorooctane Sulfonate 51. Kongpran J. Study on Contamination on Fluorotelomer Alcohols (FTOHs) and (PFOS). In: Office of Water, editor. Perfluoroalkyl Carboxylates (PFCAs) Washington, DC: US EPA; 2016. in Air in Thailand and Japan, and their 46. Kunacheva C, Fujii S, Tanaka S, Kitpati Distribution to Water Environment. Boontanon S, Poothong S, WongwatKyoto: Kyoto University; 2014. thana T, et al. Perfluorinated compounds contamination in tap water and bottled water in Bangkok, Thailand2010. 47. Kunacheva C, Tanaka S, Fujii S, Boontanon SK, Musirat C, Wongwattana T, et al. Mass flows of perfluorinated compounds (PFCs) in central wastewater treatment plants of industrial zones in Thailand. Chemosphere. 2011 2011/04/01/;83(6):737-44. 48. Chularuengaksorn P. Study on Effective Adsorption Conditions for Perfluorinated Compounds (PFCs) Removal in Municipal and Industrial Wastewater in Thailand and Japan [Dissertation]. Kyoto: Kyoto University; 2013. 49. อารี รั ต น์ จากสกุ ล , สุ นิ ท รา ทองเกลี้ ย ง, รุ จ ยา บุ ญ ยทุ ม านนท์ . การปนเปื ้ อ นสาร Perfluorinated Compound (PFCs) ใน ตั วอย่ า งน�้ ำ ผิว ดินบริเวณปากแม่น�้ำสายหลัก